พันธุ์ข้าวของไทย
ประเทศไทยมีการปลูกข้าวกันมาแต่โบราณกาล ถือเป็นอาชีพคู่บ้านคู่เมืองเลยก็ว่าได้
แต่ไม่ได้ปลูกเป็นการค้าจึงไม่ได้มีการปรังปรุงพันธ์ ซึ่งมีแต่พันธ์พื้นเมือง
เช่น พันธุ์ ขาว เช่น ขาวลอย ขาวแตงกวา
ขาวเสนอ ข้าวเขียวเบา เขียวหนัก
เขียวกะลิง เกวียนหัก จำปาขาว
จำปาทอง เป็นต้นนิยมปลูกกันในที่น้ำท่วม ซึ่งมีลักษณะพิเศษคือเวลาน้ำท่วมต้นและคอรวงจะยืดยาวลอยอยู่เหนือน้ำ
นั้นก็หมายความว่าถึงนำจะท่วมสูงเพียงใด ก็ได้ผลไม่เสียหายถือเป็นการอยู่กับธรรมชาติ ชาวนาสมัยก่อนจึงไม่อดยาก
ถึงกับต้องทิ้งไร่ทิ้งนาเข้าเมืองเหมือนสมัยปัจจุบัน แต่ก็ไม่ร่ำรวยเพราะผลผลิตต่อไรไม่สูง ปีหนึ่งก็ปลูกได้ครั้งเดียว
พันธุ์ข้าว กข41 ได้รับการรับรองพันธุ์เมื่อวันที่ 17 กันยายน 2552 จากสายพันธุ์ CNT96028-21-1-PSL-1-1 โดยการผสม 3 ทางระหว่าง ลูกผสมชั่วที่ 1 ของ CNT85059-27-1-3-2 กับสุพรรณบุรี 60 นำไปผสมกับ RP217-635-8 ที่ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาทในฤดูนาปี 2539 ปลูกชั่วที่ 1-3 ที่ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท และชั่วที่
4 -6 ที่ศูนย์วิจัยข้าวพิษณุโลก ตั้งแต่ฤดูนาปรัง 2541 ถึง ฤดูนาปรัง 2542 ปลูกศึกษาพันธุ์ฤดูนาปรัง 2543 และเปรียบเทียบผลผลิตภายในสถานีฤดูนาปี 2544 ที่ศูนย์วิจัยข้าวพิษณุโลก?
จากนั้นนำเข้าเปรียบเทียบผลผลิตระหว่างสถานีที่ศูนย์วิจัยข้าวพิษณุโลก
และศูนย์วิจัยข้าวชัยนาทและลพบุรี ในฤดูนาปี 2545 ถึงฤดูนาปี 2550 นำเข้าเปรียบเทียบผลผลิตในนาราษฎร์
ในนาเกษตรกรจังหวัดพิษณุโลก ลพบุรี สิงห์บุรีและชัยนาท ตั้งแต่ฤดูนาปี 2546 ถึง ฤดูนาปี 2550 ทดสอบผลผลิตการยอมรับของเกษตรกร
ตั้งแต่ฤดูนาปี 2547 ?2550 ในนาเกษตรกรจังหวัดพิษณุโลก พิจิตรสุโขทัย
อุตรดิตถ์ ชัยนาท และกำแพงเพชร ทดสอบเสถียรภาพผลผลิต ในฤดูนาปี2550 ที่ศูนย์วิจัยข้าวพิษณุโลก แพร่ อุบลราชธานี สกลนคร สุรินทร์
ปทุมธานี สุพรรณบุรี และพัทลุงลักษณะประจำพันธุ์เป็นข้าวเจ้าไม่ไวต่อช่วงแสงให้ผลผลิตสูงสุด
1,104 กิโลกรัมต่อไร่ ต่ำสุด616 กิโลกรัมต่อไร่ เมื่อปลูกทุก 10 วัน ในรอบปี 2549 อายุ 105 วัน ความสูง 104 เซนติเมตร กอตั้ง ต้นแข็ง
ใบสีเขียวตั้งตรง ใบธงตั้งตรง ยาว 35 เซนติเมตร กว้าง1.6 เซนติเมตร ข้าวเปลือกสีฟาง เมล็ดเรียว ยาว 10.4 มิลลิเมตร ขนาดข้าวกล้องยาว 7.73 มิลลิเมตร ข้าวสารยาว 7.3 มิลลิเมตร มีปริมาณแอมิโลสสูง 27.15เปอร์เซ็นต์
ความคงตัวของแป้งสุกอยู่ในระดับแป้งอ่อนระยะการไหลของแป้ง 77 มิลลิเมตร
ข้าวเมื่อหุงสุกมีลักษณะร่วนและค่อนข้างแข็ง
ลักษณะเด่น
1 ผลผลิตสูง มีเสถียรภาพดี
ให้ผลผลิตเฉลี่ย 894 กิโลกรัมต่อ/ไร่ สูงกว่าสุพรรณบุรี 1 (795 กก./ไร่) พิษณุโลก 2 (820 กก./ไร่) สุพรรณบุรี 3 (768กก./ไร่) กข29 (835 กก./ไร่) และชัยนาท 1 (812 กก./ไร่) คิดเป็นร้อยละ 23, 5, 13, 4 และ 20 ตามลำดับ
2 ค่อนข้างต้านทานเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล
และโรคไหม้
3 คุณภาพเมล็ดทางกายภาพดี เป็นข้าวเจ้าเมล็ดยาว เรียว
ท้องไข่น้อยคุณภาพการสีดี สามารถสีเป็นข้าวสาร 100 เปอร์เซ็นต์ได้
พื้นที่แนะนำ
เหมาะสำหรับปลูกในพื้นที่นาชลประทาน
ภาคเหนือตอนล่าง สำหรับเป็นทางเลือกของเกษตรกร
ในการป้องกันการแพร่ระบาดของเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล
ข้อควรระวัง
อ่อนแอต่อโรคขอบใบแห้ง
ไม่ควรใส่ปุ๋ยไนโตรเจนในระดับสูงเกินไปจะทำให้เกิดโรครุนแรง
อ่อนแอต่อเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล ในเขตจังหวัดนครปฐม และ
ปทุมธานี การปลูกในช่วงกลางเดือนกันยายน พฤศจิกายน จะกระทบอากาศเย็น
ทำให้ผลผลิตต่ำกว่าปกติ
****************************************************************
ชื่อพันธุ์กข39 (RD39)
ชนิด ข้าวเจ้า
คู่ผสม IR54017-131-1-3-2 / สุพรรณบุรี 60
ประวัติพันธุ์ได้จากการผสมพันธุ์ระหว่าง IR54017-131-1-3-2 และ สุพรรณบุรี 60 ที่ศูนย์วิจัยข้าวแพร่ในฤดูนาปี 2535 ปลูกคัดเลือกจนได้สายพันธุ์ PRE91001-SPT-17-1-1-3-2-3 ปลูกเปรียบเทียบผลผลิตภายในสถานี
คู่ผสม IR54017-131-1-3-2 / สุพรรณบุรี 60
ประวัติพันธุ์ได้จากการผสมพันธุ์ระหว่าง IR54017-131-1-3-2 และ สุพรรณบุรี 60 ที่ศูนย์วิจัยข้าวแพร่ในฤดูนาปี 2535 ปลูกคัดเลือกจนได้สายพันธุ์ PRE91001-SPT-17-1-1-3-2-3 ปลูกเปรียบเทียบผลผลิตภายในสถานี
การรับรองพันธุ์คณะกรรมการพิจารณาพันธุ์
กรมการข้าว มีมติรับรองพันธุ์ข้าว ชื่อ กข39 เพื่อแนะนำให้เกษตรกรปลูก เมื่อวันที่ 26 กันยายน 2551
ลักษณะประจำพันธุ์
1เป็นข้าวเจ้า สูงประมาณ 95-116 เซนติเมตร
2ไม่ไวต่อช่วงแสง อายุเก็บเกี่ยว 125-130 วัน
3ทรงกอตั้ง ลำต้นแข็งมาก กาบใบและใบมีสีเขียว
4เมล็ดข้าวเปลือกสีฟาง ข้าวกล้องสีขาว รูปร่างเรียว
5เมล็ดข้าวเปลือก ยาว x กว้าง x หนา = 10.7 x 2.6 x 2.2 มิลลิเมตร
6เมล็ดข้าวกล้อง ยาว x กว้าง x หนา = 8.0 x 2.3 x 1.9 มิลลิเมตร
7ปริมาณอมิโลสต่ำ (16.84%)
8คุณภาพข้าวสุกนุ่ม?
9ระยะพักตัวของเมล็ดพันธุ์ประมาณ 4 สัปดาห์
ผลผลิตเฉลี่ย 577 กิโลกรัมต่อไร่
ลักษณะเด่น
1ต้านทานต่อโรคไหม้ และค่อนข้างต้านทานต่อโรคขอบใบแห้ง 2คุณภาพการหุงต้มดี ข้าวสุกนุ่ม
3สามารถปลูกบนที่สูงไม่เกิน 900 เมตรจากระดับน้ำทะเลปานกลาง
ข้อควรระวัง ไม่ควรปลูกในพื้นที่ที่มีการระบาดเป็นประจำของแมลงบั่ว เพลี้ยกระโดดหลังขาว และเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล
พื้นที่แนะนำ เหมาะสำหรับปลูกในพื้นที่สูงในเขตชลประทานหรือมีแหล่งน้ำเหมาะสมในภาคเหนือตอนบนและพื้นที่สูง 600-900 เมตร จากระดับน้ำทะเลปานกลาง
ลักษณะประจำพันธุ์
1เป็นข้าวเจ้า สูงประมาณ 95-116 เซนติเมตร
2ไม่ไวต่อช่วงแสง อายุเก็บเกี่ยว 125-130 วัน
3ทรงกอตั้ง ลำต้นแข็งมาก กาบใบและใบมีสีเขียว
4เมล็ดข้าวเปลือกสีฟาง ข้าวกล้องสีขาว รูปร่างเรียว
5เมล็ดข้าวเปลือก ยาว x กว้าง x หนา = 10.7 x 2.6 x 2.2 มิลลิเมตร
6เมล็ดข้าวกล้อง ยาว x กว้าง x หนา = 8.0 x 2.3 x 1.9 มิลลิเมตร
7ปริมาณอมิโลสต่ำ (16.84%)
8คุณภาพข้าวสุกนุ่ม?
9ระยะพักตัวของเมล็ดพันธุ์ประมาณ 4 สัปดาห์
ผลผลิตเฉลี่ย 577 กิโลกรัมต่อไร่
ลักษณะเด่น
1ต้านทานต่อโรคไหม้ และค่อนข้างต้านทานต่อโรคขอบใบแห้ง 2คุณภาพการหุงต้มดี ข้าวสุกนุ่ม
3สามารถปลูกบนที่สูงไม่เกิน 900 เมตรจากระดับน้ำทะเลปานกลาง
ข้อควรระวัง ไม่ควรปลูกในพื้นที่ที่มีการระบาดเป็นประจำของแมลงบั่ว เพลี้ยกระโดดหลังขาว และเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล
พื้นที่แนะนำ เหมาะสำหรับปลูกในพื้นที่สูงในเขตชลประทานหรือมีแหล่งน้ำเหมาะสมในภาคเหนือตอนบนและพื้นที่สูง 600-900 เมตร จากระดับน้ำทะเลปานกลาง
**********************************************************************************
ชื่อพันธุ์ กข37
ชนิด ข้าวเจ้า
คู่ผสม IR46 / กข7
ประวัติพันธุ์ ได้จากการผสมพันธุ์เดี่ยวระหว่างพันธุ์ข้าว IR46 กับ พันธุ์กข7 ที่ศูนย์วิจัยข้าวพัทลุง ในปีพ.ศ. 2531 ปลูกคัดเลือกจนได้สายพันธุ์ PTL88114-10-1-1 -17 ปลูกเปรียบเทียบผลผลิตภายในสถานี ปลูกเปรียบเทียบผลผลิตในนาราษฎร์ ปลูกทดสอบเสถียรภาพการให้ผลผลิต ทดสอบศักยภาพการให้ผลผลิตและทดสอบในนาเกษตรกร
ประวัติพันธุ์ ได้จากการผสมพันธุ์เดี่ยวระหว่างพันธุ์ข้าว IR46 กับ พันธุ์กข7 ที่ศูนย์วิจัยข้าวพัทลุง ในปีพ.ศ. 2531 ปลูกคัดเลือกจนได้สายพันธุ์ PTL88114-10-1-1 -17 ปลูกเปรียบเทียบผลผลิตภายในสถานี ปลูกเปรียบเทียบผลผลิตในนาราษฎร์ ปลูกทดสอบเสถียรภาพการให้ผลผลิต ทดสอบศักยภาพการให้ผลผลิตและทดสอบในนาเกษตรกร
การรับรองพันธุ์ คณะกรรมการพิจารณาพันธุ์ กรมการข้าว มีมติรับรองพันธุ์ข้าว ชื่อ กข37 เพื่อแนะนำให้เกษตรกรปลูก เมื่อวันที่ 16 กันยายน 2551
ลักษณะประจำพันธุ์
1เป็นข้าวเจ้า สูงประมาณ 105 เซนติเมตร
2ไม่ไวต่อช่วงแสง
3อายุเก็บเกี่ยว 118 วัน เมื่อปลูกโดยวิธีปักดำ และ 108 วัน เมื่อปลูกโดยวิธีหว่านน้ำตม
4ทรงกอตั้ง ต้นแข็งไม่ล้มง่าย ใบสีเขียว กาบใบสีเขียว ใบธงตั้ง คอรวงยาว รวงยาว 32.6 เซนติเมตร
5เมล็ดข้าวเปลือกสีฟาง ข้าวกล้องสีขาว เป็นท้องไข่ปานกลาง
6เมล็ดข้าวเปลือก ยาว x กว้าง x หนา = 10.6 x 2.5 x 2.0 มิลลิเมตร
7เมล็ดข้าวกล้อง ยาว x กว้าง x หนา = 7.9 x 2.3 x 1.8 มิลลิเมตร 8ปริมาณอมิโลสปานกลาง (21.6%)
9คุณภาพข้าวสุกมีลักษณะร่วนและค่อนข้างนุ่ม ไม่มีกลิ่นหอม
10ระยะพักตัวของเมล็ดพันธุ์ประมาณ 6 สัปดาห์ผลผลิตเฉลี่ย 602 กิโลกรัมต่อไร่
ลักษณะประจำพันธุ์
1เป็นข้าวเจ้า สูงประมาณ 105 เซนติเมตร
2ไม่ไวต่อช่วงแสง
3อายุเก็บเกี่ยว 118 วัน เมื่อปลูกโดยวิธีปักดำ และ 108 วัน เมื่อปลูกโดยวิธีหว่านน้ำตม
4ทรงกอตั้ง ต้นแข็งไม่ล้มง่าย ใบสีเขียว กาบใบสีเขียว ใบธงตั้ง คอรวงยาว รวงยาว 32.6 เซนติเมตร
5เมล็ดข้าวเปลือกสีฟาง ข้าวกล้องสีขาว เป็นท้องไข่ปานกลาง
6เมล็ดข้าวเปลือก ยาว x กว้าง x หนา = 10.6 x 2.5 x 2.0 มิลลิเมตร
7เมล็ดข้าวกล้อง ยาว x กว้าง x หนา = 7.9 x 2.3 x 1.8 มิลลิเมตร 8ปริมาณอมิโลสปานกลาง (21.6%)
9คุณภาพข้าวสุกมีลักษณะร่วนและค่อนข้างนุ่ม ไม่มีกลิ่นหอม
10ระยะพักตัวของเมล็ดพันธุ์ประมาณ 6 สัปดาห์ผลผลิตเฉลี่ย 602 กิโลกรัมต่อไร่
ลักษณะเด่น
ผลผลิตสูง เฉลี่ย 602 กิโลกรัมต่อไร่
ต้านทานต่อโรคไหม้ และค่อนข้างต้านทานต่อโรคขอบใบแห้ง
ต้านทานต่อเพลี้ยกระโดดหลังขาว ประชากรแมลงจากจังหวัดน่าน สุพรรณบุรี ปทุมธานีและเพชรบุรี
ข้อควรระวัง
ผลผลิตสูง เฉลี่ย 602 กิโลกรัมต่อไร่
ต้านทานต่อโรคไหม้ และค่อนข้างต้านทานต่อโรคขอบใบแห้ง
ต้านทานต่อเพลี้ยกระโดดหลังขาว ประชากรแมลงจากจังหวัดน่าน สุพรรณบุรี ปทุมธานีและเพชรบุรี
ข้อควรระวัง
ไม่ต้านทานต่อเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล
ควรหลีกเลี่ยงพื้นที่ที่มีการระบาดของเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลเป็นประจำ
พื้นที่แนะนำพื้นที่ภาคใต้ในเขตลุ่มน้ำปากพนังและลุ่มทะเลสาบสงขลา ได้แก่ จังหวัดนครศรีธรรมราช พัทลุงและสงขลา
พื้นที่แนะนำพื้นที่ภาคใต้ในเขตลุ่มน้ำปากพนังและลุ่มทะเลสาบสงขลา ได้แก่ จังหวัดนครศรีธรรมราช พัทลุงและสงขลา
************************************************************************************************
คู่ผสม พันธุ์ข้าวเจ้าหอมสุพรรณบุรี
(พันธุ์แม่) กับพันธุ์สุพรรณบุรี1 (พันธุ์พ่อ)
ประวัติพันธุ์
คัดเลือกได้จากการผสมข้ามพันธุ์ลูกผสมเดี่ยวระหว่างพันธุ์ข้าวเจ้าหอมสุพรรณบุรี
(พันธุ์แม่) กับพันธุ์สุพรรณบุรี1
(พันธุ์พ่อ) ที่ศูนย์วิจัยข้าวสุพรรณบุรี ในฤดูนาปรัง พ.ศ. 2542
?คัดเลือกได้สายพันธุ์?SPR99007-22-1-2-2-1 ปลูกทดสอบผลผลิตในศูนย์วิจัยข้าวและในนาเกษตรกรตั้งแต่ปี
2546 จนถึงปี 2551
การรับรองพันธุ์
คณะกรรมการพิจารณาพันธุ์ กรมการข้าว พิจารณารับรองพันธุ์เมื่อวันที่
17 กันยายน 2552 ใช้ชื่อว่า ข้าวเจ้า
กข43
ลักษณะประจำพันธุ์
เป็นข้าวเจ้าไม่ไวต่อช่วงแสง อายุเก็บเกี่ยวสั้น ประมาณ 95 วัน ปลูกโดยวิธีหว่านน้ำตม ความสูงประมาณ
103 ซม.? ทรงกอตั้ง
ต้นค่อนข้างแข็งใบสีเขียวจาง ใบธงตั้งปานกลาง? ข้าวเปลือกสีฟาง
น้ำหนักข้าวเปลือก 1,000 เมล็ด 30.35 กรัม
ข้าวกล้องสีขาว ยาว 7.59 มิลลิเมตร รูปร่างเมล็ดยาวเรียว
ท้องไข่น้อย มีปริมาณแอมิโลสต่ำ (18.82 %) คุณภาพของเมล็ดทางการหุงต้มรับประทาน
ดี ข้าวสุกนุ่มเหนียว มีกลิ่นหอมอ่อน มีระยะพักตัว 5 สัปดาห์
ผลผลิต ประมาณ 561 กิโลกรัมต่อไร่
ผลผลิต ประมาณ 561 กิโลกรัมต่อไร่
ลักษณะเด่น
1 อายุการเก็บเกี่ยวสั้น 95 วันปลูกโดยวิธีวิธีหว่านน้ำตม
2 คุณภาพของเมล็ดทางการหุงต้มรับประทาน ดี ข้าวสุกนุ่มมีกลิ่นหอมอ่อน
3 ต้านทานปานกลางต่อโรคไหม้และเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล
2 คุณภาพของเมล็ดทางการหุงต้มรับประทาน ดี ข้าวสุกนุ่มมีกลิ่นหอมอ่อน
3 ต้านทานปานกลางต่อโรคไหม้และเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล
ข้อควรระวัง เนื่องจากเป็นข้าวอายุการเก็บเกี่ยวสั้น? ไม่ควรปลูกร่วมกับข้าวที่มีอายุต่างกันมากอาจจะเสียหายจากการทำลายของนกและหนูได้?
ข้าวพันธุ์นี้มีลำต้นเล็กการใส่ปุ๋ยอัตราสูงอาจทำให้ข้าวล้มได้และข้าวพันธุ์นี้อ่อนแอต่อโรคไหม้ที่พิษณุโลก
พื้นที่แนะนำ พื้นที่นาชลประทานที่เกษตรกรมีศักยภาพต้องการเพิ่มผลผลิตด้วยการเพิ่มรอบการทำนาเป็น
3?? ครั้งต่อปี?? พื้นที่ที่มีน้ำท่วมขังเป็นเวลานานและเกษตรกรมีช่วงเวลาในการทำนาน้อยกว่าพื้นที่ปลูกข้าวอื่น
ๆ และ/หรือพื้นที่ที่มีปัญหาข้าววัชพืชระบาด?
**********************************************************************************
ชื่อพันธุ์ – กข 23 (RD 23)
ชนิด - ข้าวเจ้า
คู่ผสม - RD 7 / IR 32 // RD 1
ประวัติพันธุ์ - ได้จากการผสมพันธุ์ข้าวสามทาง ระหว่าง กข 7 และไออาร์ 32 กับ กข 1 ที่ สถานีทดลองข้าวสุพรรณบุรี เมื่อปี พ.ศ. 2521 แล้วปลูกคัดเลือกและเปรียบเทียบผลผลิต จนได้สายพันธุ์ SPRLR76002-168-1-1
ชนิด - ข้าวเจ้า
คู่ผสม - RD 7 / IR 32 // RD 1
ประวัติพันธุ์ - ได้จากการผสมพันธุ์ข้าวสามทาง ระหว่าง กข 7 และไออาร์ 32 กับ กข 1 ที่ สถานีทดลองข้าวสุพรรณบุรี เมื่อปี พ.ศ. 2521 แล้วปลูกคัดเลือกและเปรียบเทียบผลผลิต จนได้สายพันธุ์ SPRLR76002-168-1-1
การรับรองพันธุ์ -
คณะกรรมการวิจัยและพัฒนากรมวิชาการเกษตร
ให้ใช้ขยายพันธุ์เป็นพันธุ์รับรอง เมื่อวันที่ 17 มิถุนายน 2524 และให้ชื่อว่า กข
23
ลักษณะประจำพันธุ์
- เป็นข้าวเจ้าต้นเตี้ย สูงประมาณ 115-120 เซนติเมตร
- เป็นพันธุ์ข้าวที่ไม่ไวต่อช่วงแสง ปลูกได้ทั้งนาปีและนาปรัง
- อายุเก็บเกี่ยว ประมาณ 125 วัน
- ลำต้นและใบมีสีเขียวอ่อน ใบธงตั้ง และค่อนข้างยาว รวงอยู่ใต้ใบ แตกกอดี
- ข้าวเปลือกสีฟาง
- ระยะพักตัวของเมล็ดประมาณ 5 สัปดาห์
- ท้องไข่น้อยมาก
- ปริมาณอมิโลส 25-30 %
- คุณภาพข้าวสุก ร่วนนุ่มปานกลาง
- เมล็ดข้าวกล้อง กว้าง x ยาว x หนา = 2.2 x 7.3 x 1.8 มิลลิเมตร
ผลผลิต
- ประมาณ 800 กิโลกรัมต่อไร่
ลักษณะเด่น
- ให้ผลผลิตสูง ทั้งในสภาพที่มีและไม่มีโรคใบหงิก ระบาด
- แตกกอดี
- เมล็ดยาวเรียว ข้าวสารสวย
- คุณภาพการหุงต้มดี มีความนุ่มพอเหมาะและรสดี
- เป็นข้าวเจ้าต้นเตี้ย สูงประมาณ 115-120 เซนติเมตร
- เป็นพันธุ์ข้าวที่ไม่ไวต่อช่วงแสง ปลูกได้ทั้งนาปีและนาปรัง
- อายุเก็บเกี่ยว ประมาณ 125 วัน
- ลำต้นและใบมีสีเขียวอ่อน ใบธงตั้ง และค่อนข้างยาว รวงอยู่ใต้ใบ แตกกอดี
- ข้าวเปลือกสีฟาง
- ระยะพักตัวของเมล็ดประมาณ 5 สัปดาห์
- ท้องไข่น้อยมาก
- ปริมาณอมิโลส 25-30 %
- คุณภาพข้าวสุก ร่วนนุ่มปานกลาง
- เมล็ดข้าวกล้อง กว้าง x ยาว x หนา = 2.2 x 7.3 x 1.8 มิลลิเมตร
ผลผลิต
- ประมาณ 800 กิโลกรัมต่อไร่
ลักษณะเด่น
- ให้ผลผลิตสูง ทั้งในสภาพที่มีและไม่มีโรคใบหงิก ระบาด
- แตกกอดี
- เมล็ดยาวเรียว ข้าวสารสวย
- คุณภาพการหุงต้มดี มีความนุ่มพอเหมาะและรสดี
- ต้านทานเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล
- ต้านทานโรคขอบใบแห้ง โรคใบหงิก
ข้อควรระวัง
- ไม่ต้านทานโรคใบสีส้ม และโรคไหม้
พื้นที่แนะนำ
- ในพื้นที่ที่มีชลประทานหรือควบคุมระดับน้ำได้ทุกภาค
*********************************************************************************
ข้าวเจ้าพันธุ์ปทุมธานี 1 เป็นข้าวหอมลักษณะเหมือนข้าวขาวดอกมะลิ
105 ปลูกได้ทั้งปีผลผลิตสูง
ลักษณะประจำพันธุ์:
- เป็นข้าวเจ้าหอม
ไม่ไวแสง
- ความสูงเฉลี่ย 104 -133 เซนติเมตร
- ทรงกอตั้งตรง
ใบเขียวกาบใบมีขนปล้องเขียว รวงใต้ใบธง
- รวงยาว แน่น
ระแง้ค่อนข้างถี่ เมล็ดสีฟาง มีขน มีหาง
- คุณภาพข้าวสุก
นุ่มคอนข้างเหนียว มีกลิ่นหอม
ลักษณะเด่น:
- คุณภาพเมล็ดคล้าย
ข้าวหอมมะลิ
- ต้านทานเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล
เพลี้ยกระโดดหลังขาว
- ต้านทานโรคใบไหม้
โรคขอบใบแห้ง
- ตอบสนองต่อปุ๋ยดี
ผลผลิตสูง
พักตัว :
- 3-4 สัปดาห์
อายุเก็บเกี่ยว
- ประมาณ 104 - 126 วัน
ผลผลิต
- 650 - 774 กิโลกรัม/ไร่
ข้อแนะนำ
- พื้นที่นาชลประทานภาคกลาง
ข้อควรระวัง
- ไม่ควรใส่ปุ๋ยอัตราสูง
โดยเฉพาะ ไนโตรเจน (N) จะทำให้ต้นล้ม ผลผลิตลด
- ค่อนข้าง ไม่ต้านทาน
เพลี้ยจักจั่นสีเขียว โรคใบหงิก และโรคใบสีส้ม
*********************************************************************************
ข้าวเจ้าชัยนาท 1 ทรงกอตั้งใบสีเขียว ใบธงค่อนข้างยาว ตั้งตรง
คอรวงสั้น รวงยาวและแน่น ระแง้ค่อนข้างถี่ ฟางแข็ง เมล็ดข้าวเปลือกยาวเรียวสีฟาง
บางเมล็ดก้นจุด คุณภาพ การขัดสีดี ได้เมล็ดข้าวสารใส ท้องไข่น้อย ทำข้าว 100
% ได้ ข้าวสุกมีลักษณะร่วนและแข็งประเภทข้าวเสาไห้ สามารถ นำไปแปรรูปเป็นก๋วยเตี๋ยว
เส้นหมี่ และขนมจีนได้
ลักษณะประจำพันธุ์:
- เป็นข้าวไม่ไวแสง
- ความสูงเฉลี่ย
113 เซนติเมตร
- ทรงกอตั้งตรง
ฟางแข็ง คอรวงสั้น รวงยาวแน่น ระแง้ถี่
ลักษณะเด่น:
- ต้านทานเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล
เพลี้ยกระโดดหลังขาว
- ต้านทานโรค
ใบหงิก(จู๋) โรคใบไหม้
- ตอบสนองต่อปุ๋ยไนโตรเจน
(N) สูง
พักตัว :
- 8
สัปดาห์ ( 56 วัน)
อายุเก็บเกี่ยว
- ประมาณ
120 วัน
ผลผลิต
- 750-1,047
กิโลกรัม/ไร่
ข้อแนะนำ
- ไม่ควรใช้ปุ๋ยไนโตรเจนเกิน
18 กิโลกรัม/ไร่
และปุ๋ย 16-20-0 เกิน 112 กิโลกรัม/ไร่
เพราะต้นข้าวจะล้ม และอ่อนแอต่อโรค แมลง?
ข้อควรระวัง
- ไม่ต้านทานโรคใบสีส้ม
โรคขอบใบแห้ง โรคใบขีดโปร่งแสง
************************************************************************************
ขาวดอกมะลิ 105 มีลำต้นสีเขียวจาง
ใบสีเขียวยาว ค่อนข้างแคบ ฟางอ่อน ใบธงทำมุมกว้างกับรวง เมล็ดข้าว รูปร่างเรียว ข้าวเปลือกสีฟาง
ลักษณะประจำพันธุ์:
- เป็นข้าวเจ้าหอม
ไวต่อช่วงแสง ปลูกได้เฉพาะนาปี
- เมล็ดข้าวเปลือก
สีฟาง เรียวยาว ก้นงอน
- ความสูงต้น
150 เซนติเมตร
- ออกดอกประมาณ
20 ตุลาคม
ลักษณะเด่น:
- คุณภาพการหุงต้ม
ดีมาก ได้ข้าวที่นิ่มนวลมีกลิ่นหอม
- ทนแล้ง, ดินเปี้ยว, และดินเค็มได้ดี
พักตัว :
- 8 สัปดาห์
อายุเก็บเกี่ยว
ประมาณ 160-180 วัน 20 พฤศจิกายน
ผลผลิต
- 750-1,047
กิโลกรัม/ไร่
ข้อแนะนำ
ปลูกได้เฉพาะนาปี
ข้อควรระวัง
- ไม่ต้านทาน
โรคใบสีส้ม
- โรคไหม้
- โรคขอบใบแห้ง
- โรคใบจุด
- โรคใบหงิก
- ไม่ต้านทานเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล
- แมลงบั่ว
*********************************************************************************
ข้าวเจ้าสุพรรณบุรี 1
ทรงกอตั้ง ต้นแข็งไม่ล้ม
ใบมีสีเขียวเข้มมีขน การแก่ของใบช้า กาบใบและปล้อง สีเขียว ใบธงยาวค่อนข้างตั้งตรง
คอรวงยาวค่อนข้าง แน่น ระแง้ค่อนข้างถี่ เปลือกเมล็ดสีฟางมีขน ยอดเมล็ด
สีฟางก้นจุดบ้าง กลีบรองดอกสีฟางสั้น ข้าวกล้องสีขาว มีท้องไข่น้อย
ลักษณะประจำพันธุ์:
- เป็นข้าวไม่ไวแสง
- ความสูงประมาณ
125 เซนติเมตร
- ทรงกอตั้ง
ต้นแข็งไม่ล้ม ใบสีเขียวเข้ม มีขนกาบใบและปล้อง สีเขียว ใบธงยาว ค่อนข้าง
ตั้งตรง คอรวงยาว รวงค่อนข้างแน่น
ลักษณะเด่น:
- ต้านทานเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล
เพลี้ยกระโดดหลังขาว
- ต้านทานโรคไหม้
โรคขอบใบแห้ง และต้านทานโรคใบหงิก และโรคใบสีส้ม
- ตอบสนองต่อการใช้ปุ๋ยดี
พักตัว
:
- 3
สัปดาห์ ( 22 วัน)
อายุเก็บเกี่ยว
- ประมาณ
120 วัน
ผลผลิต
- ประมาณ
806 กิโลกรัม/ไร่
ข้อแนะนำ
- เหมาะที่จะปลูกในพื้นที่นาชลประทานภาคกลาง
ใช้ปลูกร่วมกับ พันธุ์สุพรรณบุรี 90
เพื่อแก้ไขปัญหาเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล เพลี้ยกระโดดหลังขาว
ข้อควรระวัง
- พบโรคใบขีดสีน้ำตาลในระยะออกรวง
อาจเป็นสาเหตุของโรคเมล็ดด่างได้?
********************************************************************************************
ข้าวเจ้าพันธุ์กข.29ชัยนาท80หรือชัยนาท
- เป็นข้าวเจ้าไม่ไวต่อช่วงแสง?อายุสั้น99-103?วันสูง104?ซมกอตั้งใบธงตั้งตรง?ต้นแข็งไม่ล้มผลผลิตเฉลี่ย
876กก./ไร่สูงกว่าสุพรรณบุรี1และชัยนาท1ประมาณ6-18?เปอร์เซนต์
- ค่อนข้างต้านทานเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล?และโรคขอบใบแห้ง
- เป็นข้าวอมิโลสสูง26-29%ลักษณะเมล็ดยาวเรียวท้องไข่น้อยคุณภาพการสีดีมากในข้าวกล้องมีธาตุเหล็กสูง?(15.7มก./ข้าว1กก.)
- เหมาะสำหรับปลูกในภาคเหนือตอนล่างที่ต้องการข้าวอายุสั้นเพื่อปลูกปีละ3ครั้งหรือปลูกหลังน้ำท่วม
เป็นข้าวเจ้าที่ได้จากการผสมพันธุ์ระหว่างข้าวขึ้นน้ำพันธุ์ดี
ขาวนางเนย 1 ของประเทศไทย และข้าวนาสวนพันธุ์ดี C4-63
จากประเทศฟิลิปปินส์ได้ทำการผสมพันธุ์ที่สถานีทดลองข้าวสุพรรณบุรี
เมื่อปี 2515 แล้วปลูกคัดเลือกตามวิธีการปรับปรุงพันธุ์จนถึง
ปี 2520 หลังจากนั้นได้นำข้าวหลายสายพันธุ์
เป็นข้าวเจ้าพันธุ์ผสมที่ได้มาจากการผสม ระหว่างพันธุ์ดอกมะลิ70 กับสายพันธุ์ Chinese 345 เมื่อปี ?พ.ศ. 2501 สถานีทดลองข้าวสันป่าตองและปลูกคัดเลือกในชั่วต่อ
?ๆ ?มา ? จนได้พันธุ์
SPT 58-37- 400 ในเขตภาคกลาง ใน ปี พ.ศ. 2518 - 2529 ได้ทำการทดลองเปรียบเทียบผลผลิตระหว่างสถานีภาคกลาง 8 แห่ง ปี พ.ศ. 2526 - 2529 ได้ทำการทดลอง
เปรียบเทียบผลผลิตในนาราษฎร
คณะกรรมการวิจัยกรมวิชาการเกษตร ได้มีมติรับรองพันธุ์ เมื่อวันที่ 3 กันยายน 2530 ให้ชื่อข้าวเจ้า ปทุมธานี 60 มีลำต้นสีเขียว มีขนบนใบ
ระแง้ถี่ คอรวงยาว รวงแน่น เมล็ดยาวเรียว
ท้องไข่น้อย ข้าวเปลือกสีฟาง
อายุเก็บเกี่ยว ประมาณ วันที่ ?25 ?พฤศจิกายน
ความสูง ประมาณ 159 ซม.
ผลผลิต ประมาณ 571 กก./ไร่
ลักษณะเด่น ค่อนข้างร่วน มีกลิ่นหอม
ลักษณะดีของข้าวพันธุ์ปทุมธานี
60
1. มีกลิ่นหอมคล้ายพันธุ์ขาวดอกมะลิ
105 แต่หุงสุกแล้วไม่แฉะง่าย ร่วนแบบเดียวกับพันธุ์ขาวตาแห้ง17
2. คุณภาพเมล็ดดี ยาวเรียว
เลื่อมมันและใสแกร่ง
3. เป็นท้องไข่น้อย คุณภาพการสีดี
4. ต้านทานโรคกาบใบเน่า
5. เหมาะสมสำหรับปลูกในพื้นที่ลุ่มภาคกลางในเขตชลประทาน
และเขตเกษตรน้ำฝน
6. เปอร์เซ็นต์แป้งอะไมโลสต่ำกว่าพันธุ์
กข 19 เมื่อหุงแล้วข้าวสุกจึงนุ่มกว่า
ลักษณะเสียของข้าวพันธุ์ปทุมธานี
60
1. ถ้าใส่ปุ๋ยไนโตรเจนมาก
ต้นจะล้มง่าย
2. ไม่ต้านทานโรคและแมลงศัตรูข้าวที่สำคัญ
เช่นโรคไหม้ เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล
3. ตอบสนองต่อปุ๋ยน้อย
จากคู่ผสมดังกล่าวไปทดสอบความสามารถในการขึ้นน้ำและลักษณะอื่นๆที่สถานีทดลองข้าวหันตราและสถานีทดลองอื่น?ๆปรากฏว่ามีคุณสมบัติดีเด่นได้รับการพิจารณารับรองพันธุ์จากกรมวิชาการเกษตรให้เป็นพันธุ์ข้าวขึ้นน้ำใหม่ให้ชื่อว่าข้าวน้ำลึกหันตรา60มีลักษณะต้นสูงปานกลางใบแคบแต่ค่อนข้างยาวสีเขียวเข้ม?มุมใบค่อนข้างแคบ?แตกกอปานกลาง?รวงโตยาว?ระแง้ถี่?คอรวงยาว?เมล็ดรูปร่างยาวตรง?ท้องไข่น้อย?ข้าวเปลือกสีฟาง
อายุเก็บเกี่ยวประมาณวันที่20-25ธันวาคม
อายุเก็บเกี่ยวประมาณวันที่20-25ธันวาคม
ยาว 7.2มม
กว้าง 2.24มม
หนา 1.77มม.
กว้าง 2.24มม
หนา 1.77มม.
ความสูงประมาณ155ซม.
ผลผลิตประมาณ425กก./ไร่
ลักษณะพันธุ์ไวต่อช่วงแสงคุณภาพข้าวสุกนุ่มกว่า กข19
ลักษณะดีของข้าวพันธุ์หันตรา60
1.เหมาะสำหรับปลูกในท้องที่บริเวณที่ราบลุ่มภาคกลางของประเทศไทยที่มีระดับน้ำสูงสูดไม่เกิน100เซนติเมตรและมีอัตราการเพิ่มของน้ำเป็นไปอย่างช้าๆประมาณ1-5เซนติเมตรต่อวัน
2.ให้ผลผลิตสูงใกล้เคียงกับพันธุ์กข19
3.?คุณภาพเมล็ดดีกว่าพันธุ์กข19มากเพราะปริมาณท้องไข่น้อยกว่า
4.ความสามารถในการทนแล้งดี
5.ต้านทานต่อโรคไหม้ดี
6.เปอร์เซ็นต์แป้งอะไมโลสต่ำกว่าพันธุ์กข19เมื่อหุงแล้วข้าวสุกจึงนุ่มกว่า
ผลผลิตประมาณ425กก./ไร่
ลักษณะพันธุ์ไวต่อช่วงแสงคุณภาพข้าวสุกนุ่มกว่า กข19
ลักษณะดีของข้าวพันธุ์หันตรา60
1.เหมาะสำหรับปลูกในท้องที่บริเวณที่ราบลุ่มภาคกลางของประเทศไทยที่มีระดับน้ำสูงสูดไม่เกิน100เซนติเมตรและมีอัตราการเพิ่มของน้ำเป็นไปอย่างช้าๆประมาณ1-5เซนติเมตรต่อวัน
2.ให้ผลผลิตสูงใกล้เคียงกับพันธุ์กข19
3.?คุณภาพเมล็ดดีกว่าพันธุ์กข19มากเพราะปริมาณท้องไข่น้อยกว่า
4.ความสามารถในการทนแล้งดี
5.ต้านทานต่อโรคไหม้ดี
6.เปอร์เซ็นต์แป้งอะไมโลสต่ำกว่าพันธุ์กข19เมื่อหุงแล้วข้าวสุกจึงนุ่มกว่า
*************************************************************************************************
กข31
ข้าวเจ้าพันธุ์กข31(ปทุมธานี80)
เป็นข้าวเจ้าไม่ไวต่อช่วงแสงอายุ111-118วันสูง117ซม.กอตั้งใบธงตั้งตรงต้นแข็งไม่ล้มง่ายผลผลิตเฉลี่ย738กก./ไร่สูงกว่าสุพรรณบุรี1ประมาณ5?%
ต้านทานเพลี้ยกระโดยหลังขาวค่อนข้างต้านทานเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลโรคขอบใบแห้งโรคใบจุดสีน้ำตาลและโรคเมล็ดด่าง
ลักษณะเมล็ดยาวเรียวขนาดและรูปร่างเมล็ดสม่ำเสมอท้องไข่น้อยคุณภาพการสีดีเป็นข้าวอมิโลสสูง27-29%แต่แป้งสุกอ่อนหุงขึ้นหม้อ?ข้าวสุกนุ่มกว่าพันธุ์สุพรรณบุรี1
เหมาะสำหรับปลูกในนาชลประทานภาคกลาง
เป็นข้าวเจ้าไม่ไวต่อช่วงแสงอายุ111-118วันสูง117ซม.กอตั้งใบธงตั้งตรงต้นแข็งไม่ล้มง่ายผลผลิตเฉลี่ย738กก./ไร่สูงกว่าสุพรรณบุรี1ประมาณ5?%
ต้านทานเพลี้ยกระโดยหลังขาวค่อนข้างต้านทานเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลโรคขอบใบแห้งโรคใบจุดสีน้ำตาลและโรคเมล็ดด่าง
ลักษณะเมล็ดยาวเรียวขนาดและรูปร่างเมล็ดสม่ำเสมอท้องไข่น้อยคุณภาพการสีดีเป็นข้าวอมิโลสสูง27-29%แต่แป้งสุกอ่อนหุงขึ้นหม้อ?ข้าวสุกนุ่มกว่าพันธุ์สุพรรณบุรี1
เหมาะสำหรับปลูกในนาชลประทานภาคกลาง
***********************************************************************************************
ข้าวเหนียวพันธุ์กข12(หนองคาย80)
- เป็นพันธุ์ข้าวเหนียวไวต่อช่วงแสงอายุเบาออกดอกประมาณ 9-11?ตุลาคมสามารถปลูกในพื้นที่ดอนภาคเหนือตอนบนและภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่ฝนหมดเร็วซึ่งพันธุ์
- กข.6ปลูกได้ไม่ดีและมีลำต้นแข็งไม่ล้มง่าย
- มีความต้านทานโรคไหม้ได้ดีใช้แก้ปัญหาในพื้นที่ที่มีโรคไหม้ระบาดรุนแรง
- รูปแบบทรงต้นดีและมีคุณภาพหุงต้มดีเป็นที่ยอมรับของเกษตรกร
*************************************************************************************************
ข้าวเหนียวพันธุ์กข12(หนองคาย80)
- เป็นพันธุ์ข้าวเหนียวไวต่อช่วงแสงอายุเบาออกดอกประมาณ9-11ตุลาคมสามารถปลูกในพื้นที่ดอนภาคเหนือตอนบน?และภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่ฝนหมดเร็วซึ่งพันธุ์
- กข.6ปลูกได้ไม่ดีและมีลำต้นแข็งไม่ล้มง่าย
- มีความต้านทานโรคไหม้ได้ดีใช้แก้ปัญหาในพื้นที่ที่มีโรคไหม้ระบาดรุนแรง
- รูปแบบทรงต้นดีและมีคุณภาพหุงต้มดีเป็นที่ยอมรับของเกษตรกร
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น